วันจันทร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

นักศึกษาครูสอนวิทยาศาสตร์

รื่อง นำภูมิปัญญาพัฒนาการสอนวิทยาศาสตร์ (เมล็ดพันธุ์ครู)




สรุป
เป็นการเชื่อมโยงจากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว สิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำวันและ          ภูมิปัญญา เข้ามาผนวกกับวิทยาศาสตร์ทำให้เข้าใจ และเกิดการเรียนรู้ สิ่งที่สำคัญคือการเรียนรู้ที่ไม่ได้อยู่ในเพียงแค่ตำรา แต่ทำให้ผู้เรียนสัมผัสได้ถึงประสบการณ์ของการเรียนรู้นอกห้องเรียน เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินและอยากที่จะเรียนรู้ นอกเหนือไปกว่านั้นยังเป็นการอนุรักษ์ สืบสาน ภูมิปัญญาชาวบ้าน

การนำไปประยุคใช้    
การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน  เพื่อการต่อยอดในอาชีพหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น  เพราะภูมิปัญญากับวิทยาศาสตร์สามารถนำมาประยุคใช้ด้วยกันได้  การเรียนบางตัวไม่จำเป็นต้องใช้สื่ออะไรมากมายเพราะเสื่อบางตัวอยู่รอบๆตัวเรา  ประสบการณ์ของการเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องอยู่ในห้องเรียนอาจจะอยู่นอกห้องเรียนก็เป็นได้

ข้อดี  
การเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องเรียนจากสื่อที่เป็นสื่อ เทคโนโลยีอย่างเดียว เรียนรู้จากสื่อที่เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ก็สามารถนำมาบูรณาการในการเรียนการสอนได้ อีกอย่างสามารถนำนักเรียนนักศึกษาไปศึกษานอกห้องเรียน ไปยังถิ่นฐานหรือแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นได้อีกด้วย ทำให้นักเรียนนักศึกษาได้เรียนรู้ตามสภาพจริง และทำให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นด้วย

ข้อเสีย
ภาพบางช่วงบางตอนไม่ค่อยชัดเท่าไร
และสื่อบางตัวก็ไม่ค่อยชัดเท่าไร


  ที่มา  http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=1129   
   วันที่ 6/02/2556

2 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณคะข้อมูลในคลิป น่าสนใจคะและน่าจะได้นำไปใช้ในอนาคตได้ด้วย

    ตอบลบ
  2. คลิปวีดีโอน่าสนใจดีคะ แต่ตัวหนังสือเล็เกินไป

    ตอบลบ